โรคร้ายที่มาพร้อมกับการดื่มกาแฟ

ถึงแม้ว่ากาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่คนส่วนใหญ่นั้นนิยมดื่มกันเป็นอย่างมากในตอนเช้า และถึงแม้ว่ากาแฟจะมีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายของเรา ที่มีส่วนช่วยในการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาททำให้ร่างกายของเรารู้สึกกระปี้กระเป่าได้มากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังมีส่วนช่วยทำให้การทำงานของเรานั้นราบรื่นได้มากยิ่งขึ้นอีกด้วย

ซึ่งหลายคนอาจจะทราบกันเป็นอย่างดีอยู่แล้วว่ากาแฟเป็นเครื่องดื่มที่มีความสำคัญต่อการใช้ชีวิตของคนในสมัยปัจจุบันนี้เป็นอย่างมาก เพราะมีส่วนช่วยทำให้ร่างกายของเรานั้นตื่นตัวได้ง่ายนั่นเอง แต่รู้หรือไม่ว่า ถึงแม้กาแฟจะเป็นเครื่องดื่มที่คนส่วนใหญ่นิยมดื่มกันมากแค่ไหนก็ตาม

แต่กาแฟ หากเรายิ่งดื่มเยอะมากแค่ไหนก็ ยิ่งส่งผลกระทบต่อร่างกายหรืออาจทำให้ร่างกายของเรานั้นได้รับความอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสี่ยงต่อการเป็นโรคร้ายต่างๆโดยที่เราเองก็ไม่รู้ตัว ซึ่งสาเหตุนี้ก็อาจเกิดขึ้นจากการที่เราดื่มกาแฟมากจนเกินไปนั่นเอง

อย่างไรก็ตามถึงแม้เครื่องดื่มกาแฟจะเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมและมีความชีวิตของเรามากแค่ไหนก็ตาม ทางที่ดีก็ควรเลือกดื่มในปริมาณที่เหมาะสมหรือไม่เกินวันละ 2 แก้ว เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้สูงสุด แต่เมื่อไรก็ตามที่เราดื่มมากเกินไปนั้น ก็อาจทำให้ร่างกายเสี่ยงต่อการเป็นโรคร้ายได้ง่าย

โรคร้ายที่มาพร้อมกับการดื่มกาแฟ และวันนี้เราก็จะพาทุกคนไปดูกันว่าโรคร้ายที่มาพร้อมกับการดื่มกาแฟมากๆนั้นจะมีโรคอะไรกันบ้างไปดูกันเลย

โรคหัวใจ แน่นอนว่าโรคนี้เป็นหนึ่งในโรคที่เกิดขึ้นจากการที่เราดื่มกาแฟมากจนเกินไป เพราะถึงแม้ว่ากาแฟจะทำให้ร่างกายของเราตื่นตัวหรือรู้สึกสดชื่นได้มากแค่ไหนก็ตาม แต่หากร่างกายของเราได้รับเข้าไปในปริมาณที่เยอะจนเกินไป อาจทำให้เรานั้นมีอาการใจสั่น จนส่งผลกระทบต่อหัวใจ ทำให้หัวใจของเราเต้นแรง เต้นเร็ว หรือเต้นผิดจังหวะ เพราะเนื่องจากว่าคาเฟอีนที่อยู่ในกาแฟนั้นจะมีส่วนช่วยในการกระตุ้นหัวใจของเรา ให้เกิดอาการใจสั่น จนทำให้เราเสียต่อการเป็นโรคหัวใจนั่นเอง

โรคกระดูกพรุน หนึ่งในสาเหตุสำคัญของการเป็นโรคกระดูกพรุนนั้นก็คือการที่เราดื่มกาแฟมากเกินไป เนื่องจากกาแฟจะเข้าไปขัดขวางการดูดซึมสารอาหารโดยเฉพาะแคลเซียม จึงทำให้ร่างกายของเรานั้นได้รับแคลเซียมได้ไม่เพียงพอจนส่งผลกระทบต่อกระดูก ทำให้กระดูกของเราขาดการบำรุง จนส่งผลให้กระดูกเกิดความเสียหายอย่างหนัก และเกิดเป็นโรคกระดูกพรุนตามมานั่นเอง

โรคเหน็บชา หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าโดยปกติแล้วหากร่างกายของเราขาดสารอาหารวิตามินบีหนึ่งเข้าไปจะทำให้ร่างกายของเรานั้นเกิดอาการเหน็บชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการบวม หรือในบางครั้งอาจทำให้หัวใจของเราไว้จนอาจทำให้เราเสียชีวิตได้นั่นเอง ซึ่งสาเหตุหลักๆของการที่ร่างกายของเราขาดสารอาหารวิตามินบีหนึ่งนั้น อาจเกิดขึ้นจากการดื่มกาแฟก็เป็นได้ เพราะเนื่องจากว่าในกาแฟนั้นจะมีสารคาเฟอีนซึ่งเป็นสารที่ จะเข้าไปขัดขวางการดูดซึมวิตามินนั่นเอง

 

สนับสนุนโดย    เครื่องช่วยฟัง

มาตรการการรายงานตนเอง

สินค้าคงคลังลักษณะของรัฐสำหรับความวิตกกังวลทางปัญญาและร่างกาย (STICSA) ประเมินลักษณะร่างกายและความรู้ความเข้าใจและความวิตกกังวลของรัฐในผู้เข้าร่วมทั้งหมด STICSA มีความน่าเชื่อถือและความถูกต้องที่ดีเป็นตัวชี้วัดสถานะและลักษณะความวิตกกังวลทางปัญญาและร่างกาย  

มาตรวัดผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบ (PANAS) ใช้เพื่อประเมินอารมณ์ของผู้เข้าร่วมก่อน  มาตรการการรายงาน   และหลังการรักษาแบบสุ่ม PANAS มีความน่าเชื่อถือและความถูกต้องที่ดีและมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในการศึกษาจำนวนมากเพื่อประเมินอารมณ์ 

การทดสอบการตั้งค่าดนตรีแบบสั้น (STOMP) ประเมินความชอบทางดนตรีของผู้เข้าร่วม STOMP มีความน่าเชื่อถือที่ดีและได้รับการตรวจสอบว่าเป็นการวัดความชอบทางดนตรีที่ดี  รูปแบบสั้นๆ ของ Eysenck Personality Questionnaire (EPQR) ประเมินลักษณะบุคลิกภาพของผู้เข้าร่วม โดยเฉพาะการเก็บตัว การแสดงตัว และอาการทางประสาท และมีความน่าเชื่อถือและความถูกต้องที่ดี 

เงื่อนไขการรักษา ลำดับของเพลงในสภาพดนตรีได้รับการจัดการโดยระบบแนะนำเพลงเกี่ยวกับอารมณ์ที่อธิบายไว้ในบทนำและปรับใช้โดย LUCID Research Application แอปพลิเคชันนี้เหมือนกับ “แอปพลิเคชัน LUCID Vibe” ที่มีจำหน่ายทั่วไป แต่ได้รับการกำหนดค่าเฉพาะเพื่อให้สามารถสุ่มเงื่อนไขการรักษาได้ ผู้เข้าร่วมทั้งหมดได้รับการรักษา 24 นาทีและทำตามขั้นตอนเดียวกันโดยไม่ขึ้นกับเงื่อนไขการทดลองที่ได้รับมอบหมาย ผู้เข้าร่วมได้รับการสุ่มให้เป็นหนึ่งในสี่เงื่อนไขการรักษา: รวมกัน

(ดนตรีที่มี ABS); เสียงเพลงอย่างเดียว, ABS อย่างเดียว หรือเสียงสีชมพู เสียงสีชมพูคือสัญญาณรบกวนที่ตามหลังการกระจายพลังงาน 1/f ในโดเมนความถี่ การศึกษาก่อนหน้านี้จำนวนมากเกี่ยวกับสิ่งเร้าทางหูได้ใช้เสียงสีชมพูเป็นตัวกระตุ้นการควบคุม [65–67] เสียงสีชมพูไม่ต่างจากสภาพเงียบมากนัก

ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการใช้สภาวะเงียบเพื่อควบคุมคือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากยาหลอก เนื่องจากเงื่อนไขอื่นๆ ทั้งหมดมีองค์ประกอบในการได้ยิน นอกจากนี้ ความได้เปรียบของสัญญาณรบกวนสีชมพูเป็นสภาวะควบคุมเมื่อเปรียบเทียบกับสภาวะเงียบคือช่วยควบคุมผลของยาหลอก เสียงสีชมพูถูกให้ในลักษณะเดียวกับสิ่งเร้าอื่นๆ โดยผู้ทดลองสามารถควบคุมตัวแปรนี้ได้

จากการศึกษาวิเคราะห์อภิมานครั้งก่อน เวลาในการรักษาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการลดความวิตกกังวลและการปรับปรุงความรู้ความเข้าใจสำหรับการกระตุ้นจังหวะการได้ยินและการบำบัดด้วยดนตรีอื่นๆ คือ 20-30 นาที เวลาเฉพาะของ 24 นาทีเกิดจากข้อจำกัดทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับอัลกอริธึมการเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดลำดับเพลงตามหลักการของ LUCID iso ขั้นตอน

การศึกษานี้ดำเนินการทางออนไลน์ และผู้เข้าร่วมการศึกษาได้เสร็จสิ้นการศึกษาที่บ้านของพวกเขา หลังจากยินยอมให้เข้าร่วมการศึกษา ผู้เข้าร่วมได้ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน LUCID Research บนอุปกรณ์ iOS ของตน จากนั้น ผู้เข้าร่วมทำแบบสำรวจก่อนการบำบัดซึ่งประกอบด้วยลักษณะ STICSA, แบบสอบถามบุคลิกภาพ Eysenck (EPQR), การทดสอบการตั้งค่าดนตรีแบบสั้น (STOMP), มาตราส่วนผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบ (PANAS) และสถานะ STICSA ผู้เข้าร่วมฟังการรักษาที่ได้รับมอบหมายเป็นเวลา 24 นาที ผู้เข้าร่วมถูกขอให้ใช้หูฟังและหลับตาขณะฟังการบำบัดด้วยเสียง จากนั้น ผู้เข้าร่วมทำแบบสำรวจหลังการรักษาซึ่งประกอบด้วยรัฐ STICSA และ PANAS

 

สนับสนุนโดย.    เครื่องช่วยฟัง

ประสบการณ์จากการใช้เครื่องช่วยฟัง

 แต่เดิมเราเป็นคนที่ได้ยินเสียงชัดเจนปกติ มีเพื่อนมีสังคม มีหน้าที่การงานทำ แต่เรามักจะมีอาการคันในรูหูบ่อยๆ

จึงชอบหาอะไรมาแหย่เข้าไปในหู เพื่อให้รู้สึกหายคัน แต่เมื่อทำแบบนี้บ่อยๆเข้าเราเริ่มรู้สึกเจ็บหู จากเจ็บกลายเป็นเริ่มปวด หูเริ่มปวดแต่เราก็ยังทนด้วยการหายาแก้ปวดมากินเอง อาการค่อยทุเลาลง แต่ผ่านไปสักพักเราก็กลับมามีอาการอย่างเดิมอยู่เพราะเราก็ยังคงหาอะไรมาแคะหูเหมือนเดิม ซึ่งเรามักจะนำสำลีที่พันไม้มาเช็คหูทุกวันหลังอาบน้ำ เมื่อความปวดหูครั้งที่สองเริ่มขึ้นเราจึงไปให้หมอที่รักษา เกี่ยวกับหู ตา จมูก ช่วยดูให้แพทย์ได้ส่องดูเข้าไปในหู พบว่าหูของเรามีแผลเป็นรอยถลอก ทำให้หูข้างในเกิดการอักเสบ คุณหมอจึงทำการรักษาให้เราและห้ามให้น้ำเข้าหูเราเพราะจะยิ่งทำให้หูรักษายากมากยิ่งขึ้น คุณหมอได้แนะนำเกี่ยวกับการดูแลหูว่าอย่าพยายามหาอะไรมาแคะหรือแหย่เพราะหากไปโดยเยื่อแก้วหูฉีกขาดจะทำให้เราหูหนวกได้ เราหลังจากที่เรามีปัญหาเรื่องมีแผลในหู เราเริ่มรู้สึกว่าเราได้ยินเสียงหวีดในหูบ่อยๆ และเวลาใครคุยกับเรา เราจะไม่ค่อยได้ยิน เราจึงแจ้งให้คุณหมอทราบอีกครั้งเพราะการที่เราไม่ค่อยได้ยินเสียงมันเป็นอุปสรรค ต่อการทำงานของเราเป็นอย่างมาก

คุณหมอได้ทำการรักษาให้แต่เรามีความจำเป็นที่ต้องการหายแบบเร่งด่วน เพราะเราต้องไปทำงานตามปกติ คุณหมอจึงแนะนำให้ใช้เครื่องช่วยฟัง ซึ่งคุณหมอบอกว่าเครื่องนี้จะช่วยให้เราได้ยินเสียงชัดเจนขึ้น และหากเรารักษาอาหารหูอักเสบนี้หายแล้ว เราก็สามารถหยุดใช้เครื่องช่วยฟังได้  เราจึงเริ่มศึกษาเรื่องเครื่องช่วยฟังและเรามีหมอคอยให้คำแนะนำเกี่ยวกับเลือกซื้อเครื่องช่วยฟังเพราะว่ามันมีหลายแบบ หลายราคา เราเลือกเครื่องช่วยฟังที่สอดใส่ในหู เพราะเราไม่อยากให้ใครรู้ว่าเรากำลังมีปัญหาเกี่ยวกับการได้ยิน

ซึ่งตั้งแต่ใช้เครื่องช่วยฟังมา ยังไม่เคยมีใครรู้เลยว่าเราใส่เครื่องช่วยฟังอยู่ และการสื่อสารของเรากับหัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน ลูกค้าหรือแม้แต่คนในครอบครัวของเราเองก็ดีขึ้นกว่าเดิม เป็นปกติเหมือนตอนที่เรายังไม่มีปัญหาเกี่ยวกับหู ทำให้เรารู้สึกดีมากๆ ตอนนี้เราไม่ได้ใช้ เครื่องช่วยฟัง แล้ว เพราะตลอดระยะเวลาที่เราใส่เครื่องช่วยฟัง เราก็ไปหาหมอให้เขาช่วยรักษาอาการหูของเราให้ดีขึ้นด้วย หากใครยังกังวลกับการจะใช้เครื่องช่วยฟัง มั่นใจเถอะว่าใช้แล้วดีจริง